วันจันทร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

กิจกรรมสัปดาห์ที่ 5 การแบ่งประเภทของสื่อการสอน

เมื่อวันจันทร์ อาจารย์ได้พาพวเเร กลุ่ม 403 ไปชม สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล ก่อนดีกว่า รู้สึกจะออกทะเลไปเยอะไปหน่อยมั้งเนี่ย เรา
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลอยู่ทางซ้ายมือ ก็คืออยู่ติดกันเลยนั้นแหล่ะครับ


ข้างหน้าจะเป็นวงเวียน ตรงกลางวงเวียนจะมีรูปโลมา2-3ตัวอยู่กับน้ำพุ เหมือนจะทำให้เหมือนกับว่าโลมากำลังเล่นน้ำประมาณนั้น ส่วนข้างๆวงเวียนทั้งซ้าย-ขวาก็จะเป็นที่จอดรถ

ภายในตึกก็จะมีอยู่ด้วยกัน 2 ฝั่ง ฝั่ง
นึงจะเป็นไปดูพวกปลาของสถาบันที่เก็บไว้จะอยู่ทางขวามือซึ่งต้องเสียเงินในการเข้าไปดูด้วย

ส่วนอีกฝั่งเป็นที่เก็บกระดูกสัตว์น้ำประเภทต่างๆ ซึ่งสมัยผมเด็กก็ไม่กล้าขึ้นไปดูก็เลยไม่ค่อยรู้ว่ามีอะไรบ้าง



การแบ่งประเภทของสื่อการสอน แบ่งตามระดับประสบการณ์ของผู้เรียนซึ่ง เดล ได้แบ่งเป็น 10ประเภท โดยยึดเอาความเป็นรุปธรรมและนามธรรมเป็นหลักและเรียงลำดับจากประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรมที่สุดประสบการณ์ที่เป็นนามธรรมที่สุด เรียกว่า "กรวยประสบการณ์"




ขั้นที่ 1 ประสบการณ์ตรงและมีความมุ่งหมาย
ประสบการณ์ที่เป็นรากฐานของประ
สบการณ์ทั้งปวงเพราะได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง

ขั้นที่ 2 ประสบการณ์จำลอง
จากข้อจำกัดที่ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนจากประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนได้ จึงใช้ประสบการณ์จำลองแทน

ขั้นที่ 3 ประสบการณ์นาฏการ

ประสบการณ์ที่จัดขึ้นแทนประสบการณ์จริงที่เป็นอดีตไปแล้ว

ขั้นที่ 4 การสาธิต
การอธิบายข้อเท็จจริง ความจริง และกระบวนการที่สำคัญด้วยการแสดงให้เห็นเป็นลำดับขั้น

ขั้นที่ 5 การศึกษานอกสถานที่
การพานักเรียนไปศึกษายังแหล่งความรู้นอกห้องเรียน

ขั้นที่ 6 นิทรรศการ
การจัดแสดงสิ่งต่างๆ รมทั้งมีการส
าธิตและการฉายภาพยนตร์ประกอบ

ขั้นที่ 7 ภาพยนตร์ และโทรทัศน์
ผู้เรียนได้เรียนด้ว
ยการเห็นและการได้ยินเสียงเหตุการณ์ และเรื่องราวต่างๆ ไปพร้อมๆกัน

ขั้นที่ 8 การบันทึกเสียง วิทยุ และภาพนิ่ง
ได้แก่ เทปบันทึกเสียง แผ่นเสียง ซึ่งต้องอาศัยเรื่องการขยายเสียง ส่วนภาพนิ่ง ได้แก่ รูปภาพขนิดโปร่งแสง สไลด์

ขั้นที่ 9 ทัศนสัญลักษณ์
มีความเป็นนามธรรมมากขึ้น จำเป็นที่
ต้องคำนึงถึงประสบการณ์ของผู้เรียนเป็นพื้นฐาน

ขั้นที่ 10 วจนสัญลักษณ์
ประสบการณ์สุดท้าย เป็นนามธรรม
ที่สุด

วัสดุกราฟิก
ทัศนวัสดุอย่างหนึ่งที่นำมาใช้ในการสื่อความหมายเพื่อแสดงสัญลักษณ์หรือความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริง แนวคิด มี 2 ประเภท ได้แก่ วัตถุกราฟิก 2 มิติ และวัตถุกราฟิก 3 มิติ

ประเภทของสื่อวัสดุ
1. สื่อวัสดุกราฟิก เป็นวัสดุ 2 มิติรูปร่างแบน เช่น รูปภาพ สัญลักษณ์
2. สื่อวัสดุ 3 มิติ เป็
นสื่อที่สร้างมาจากวัสดุต่างๆ สามารถตั้งแสดงด้วยตังเอง เช่น หุ่นจำลอง
3. สื่อวัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อ
ที่ใช้กับเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น เทป แผ่นซีดี

สื่อวัสดุกราฟิก
1. วัสดุกราฟิก ได้แก่ ภาพเขียน ภาพสี
2. คุณค่าของวัสดุกราฟิก เช่น ราคาถูก ครูผลิตเองได้
3. ประโยชน์ข
องวัสดุกราฟิก เข้าใจเนื้อหาบทเรียนได้ตรงกัน กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน
4. ลักษณะของวัตถุกราฟิกที่ดี ตรงกับเนื้อหา รูปแบบง่าย ไม่ยุ่งยาก
5. การออกแบบวัสดุกราฟิก เหมาะสมกับผู้เรียน ตรงตามเนื้อหา
6. ข้อดีและข้อจำกัดของวัสดุก
ราฟิก แสดงเนื้อหาให้เข้าใจง่าย ต้นทุนการผลิตต่ำ ข้อจำกัด ใช้กับกลุ่มเป้าหมายขนาดเล็ก
7. ประเภทของวัตถุกราฟิก เช่น แผนภูมิ




สื่อวัสดุ 3 มิติ
รูปทรงประกอบด้วยขนาดทั้ง 3 ทิศทาง คือ กว้าง ยาว หนา นูน บางอย่างเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น บางอย่างเป็นสิ่งที่อยู่โดยธรรมชาติ
ประเภทของวัสดุ 3 มิติ เช่น หุ่นจำลอง ป้ายนิเทศ กระบะทราย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น